โรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท

อะไรคือโรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท?

โรคหมอนรองกระดูกเคทับเส้นประสาทคือ เนื่องด้วยหลังแอนนูลัส ไฟโบรลัส(Anulus Fibrosus)ที่แตกออก หมอนรองกระดูกแตกกดทับเส้นประสาท ทำให้ปวดเอวและขาเป็นหลักซึ่งเป็นโรคที่การแสดงออกมา ตำแหน่งในร่างกายที่พบหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท ส่วนใหญ่การพบในส่วนเอวขั้น L4-51และส่วนเอวขั้น L5-S1 มากกว่า 90% L3-4มีลักษณะโดดเด่นประมาณ2%เอวทั้งสองส่วนมีลักษณะโดดเด่น6%~19%

โรคหมอนรองกระดูกเคทับเส้นประสาทคือ 1

อัตราการเป็นโรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท

โดยมีตัวเลขสถิติแสดงว่า อัตราการเป็นโรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาทโดยเฉลี่ยoverall incidence15.2%~30% และอัตราการเป็นโรคเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ผู้ป่วยมีทั้งอายุน้อยจนถึงอายุมาก ซึ่งผู้ป่วยอายุ30ถึง 50ปี มีอัตราการเกิดโรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาทสูง ในขณะเดียวกันเพศชายง่ายต่อการเกิดโรคและมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคค่อนข้างสูง

สาเหตุที่เกิดโรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท

สาเหตุหลักที่เกิดโรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาทคือการเสื่อมของหมอนรองกระดูก ปัจจุบันยังคงไม่สามารถหาสาเหตุโดยตรงได้ แต่ยังมีสาเหตุดังนี้

1.ปัจจัยด้านอาชีพ:(1)เมื่อคนขับรถทำท่าการนั่งและการขรุขระอยู่นาน และหมอนรองกระดูกได้รับแรงดันเกินไป จะมีโอกาสทำให้เกิดโรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท (2)คนงานที่ก้มตัวเวลานาน เช่นคนขุดถ่านหินหรือคนงานก่อสร้าง จะมีโอกาสงายเกิดโรคหมอนรองกระดูกเคทับเส้นประสาทโดยไฟเบอร์พัง

2.ปัจจัยสิ่งแวดล้อม:สิ่งแวดล้อมที่เป็นเย็นหรือความชุ่มชื้นสามารถทำให้เกิดการหลอดเลือดหดเล็ก กล้ามเนื้อกระตุก ทำให้แรงดันของหมอนรองกระดูกเพิ่มขึ้นและหมอนรองกระดูกที่เสื่อมพัง

3.ปัจจัยการสูบบุรี่:มีสารพิษมากมายโดบเฉพาะสารนิโคตินโดยสูบเข้าไปในทางเลือด ทำให้หลอดเลือดเล็กหดและกระตุก หลอดเลือดความหนาเล็กลง และการให้เลือดในร่างกายน้อยลง ในขณะเดียวกันสารพิษอย่างหนึ่งคือคาร์บอนมอนนอกไซด์ ทำให้อาการของหมอนรองกระดูกน้อยลงขึ้น ระยะที่การเสื่อมรุนแรงเพิ่ม ทำให้เกิดโรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท

4.การตั้งท้อง:ผู้หญิงมีครรภ์กระดูกสันหลังส่วนเอวนุนขึ้น เพิ่มความแรงดันของหมอนรองกระดูก

5.โรคเบาหวาน:มีผลกระทบต่อเส้นเลือดแดงในบริเวณหมอนรองกระดูก การไหลเลือดน้อยลง การเผาผลาญอาหารต่ำลง ในสุดท้ายทำให้ระบบโครงสร้างของหมอนรองกระดูกพัง

โรคหมอนรองกระดูกเคทับเส้นประสาทคือ 2

อาการของโรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท

อาการเจ็บปวดคืออาการที่พบเห็นมากสุดในผู้ป่วยโรคหมอนรองกระดูกเคทับเส้นประสาท มีอาการแสดงออกมาคือปวดหลังเอว ปวดประเสทของกระดูกก้น ลักษณะอาการปวดประสาทของกระดูกก้นมีอาการคือปวดสะโพก ต้นขาข้างหลัง ตรงแข้งจนถึงส้นเท้าหรือหลังเท้า

(1)อาการปวดเอว:ผู้ป่วย90%ขึ้นไปมีอาการนี้ออกมา บริเวณตรงที่เจ็บปวดส่วนใหญ่คือตำแหน่งเอวส่วนล่างและกระดูกเอวส่วนล่าง อาการปวดแบบจุกๆเป็นอาการหลักที่พบได้บ่อย เมื่อนอนพื้นอาการปวดเอวจะน้อยลง เมือลุกขึ้นหรือการนั่ง อาการปวดเอวจะรุนแรงขึ้น

(2)อาการปวดร่างกายส่วนล่าง:อาการเจ็บปวดอาการปวดตามหลังส่วนล่าง, ก้น, ต้นขา, น่องก่อนหรือหลังจากขยายออกไปยังส้นเท้า

(3)การทำงานของความรู้สึงทางร่างกายส่วนล้างตำลง:เนื่องจากรากประสาทเสียหาย ทำให้การทำงานของประสาทสัมผัสและระบบการเคลื่นไหวต่ำลงจนกระทั้งสูญเสีย อาการที่ออกมาบ่อยคือ การชาผิวหนัง ตัวร่างกายหนาว อุณหภูมิทางผิวหนังต่ำลง เมื่ออาการรุนแรงมีอาการกล้ามเนื้อเหี่ยวเฉาและกล้ามเนื้ออัมพาต

(4)อาการรากประสาทหางม้า ลำไส้มีอาการชา เจ็บเหมือนไฟฟ้าช็อต ไม่มีแรงขับปัสสาวะ อุจารระไม่หยุด

เมื่อมีอาการที่ด้านบนเกิดขึ้น ควรรีบเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลเฉพาะโรค เพื่อจะได้รับการวินิจฉัยและการรักษา

วิธีการวินิจฉัยของโรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท

การตรวจโดยทางรังสีวิทยา

1.การตรวจโดยเอกซเรย์:การตรวจโดยเอกซเรย์สามารถค้นพบการเปลี่ยนแปลงชนิดเสื่อมและการผิดปกติทางโครงสร้างของกระดูกสันหลัง มีคุณค่ามากต่อการพบการเสื่อมเปลี่ยนแปลงของหมอนรองกระดูก

2.การตรวจโดยCTเอกซเรย์คอมพิวเตอร์:การตรวจกระดูกสันหลังส่วนเอวโดยCTสามารถได้แสดงตำแหน่ง ความใหญ่ รูปร่าง และสภาพรากประสาทและถุงเยื่อดูราถูกกดทับ ในขณะเดียวกันสามารถเห็นเอ็นเหลืองมีการเจริญเติบโตได้อย่างชัดเจน ข้อต่อขนาเล็กเพิ่มมากขึ้น กระดูกสันหลังและด้านข้างจะมีร่องหรือซอกแคบๆ ซึ่งเป็นอาการโรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาทที่มีผลต่อการวินิจฉัยถึง80%-92%

3.การตรวจโดยMRIคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า:MRIคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ไม่รังสี สามารถแสดงภาพได้หลายตำแหน่ง ทำให้รายละเอียดทางกายวิภาคชัดเจนไวต่อการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างพยาธิวิทยา (เช่นแทรกซึมกระดูก)

4.เครื่องวัดคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้ออาการโรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท ส่วนใหญ่โดยเป็นการตรวจสอบกล้ามเนื้อแขนขาให้กระตุ้นสะท้อนให้เห็นถึงสถานะของรากประสาท รวมถึงการแบ่งขอบเขตการเจริญเพื่อวินิจฉัยโรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาทและระดับขั้นของการกดทับเส้นประสาท

สิ่งที่ต้องการสังเกตคือ การวินิจฉัยโรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท ต้องการพิจารณา การวิเคราะโดยรวมอย่างสมบูรณ์โดยการผสมผสานกับอาการ และข้อมูลทางรังสีวิทยา รับรองสามอย่างเป็นเิอกฉันท์ จึงสามารถได้การวินิจฉัยอย่างชัดเจน

โรคหมอนรองกระดูกเคทับเส้นประสาทคือ 3

วิธีการรักษาโรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท

วิธีการรักษาโรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาทมีหลายอย่าง วิธีการรักษาที่ไม่เหมือนกันจะมีลักษณะและประสิทธิภาพก็ไม่เหมือนกัน การเหมาะในผู้ป่วยที่ในช่วงระยะและสภาพที่ไม่เหมือนกัน

1.วิธีการพ่วง: เนื่องจากการสมดุลระหว่าแรงพ่วงกับการป้องกันการเสียดสีนั้น ทำให้ศรีษะละลำคอในทางสรีรวิทยาคงอยู่ในสถานะโค้ง ส่งผลทำให้กระดูกคอที่มีลักษณะโค้งผิดปกติค่อยๆเปลี่ยนแปลง

2.กายภาพบำบัด: เป็นโปรแกรมทางธรรมชาติและความหลากหลายปัจจัยทางกายภาพเทียม เช่นเสียงแสง, ไฟฟ้า, ความร้อน, ผลแม่เหล็กในร่างกายมนุษย์ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการรักษาและการป้องกันโรค

3.การรักษาโดยการผ่าตัด:หลักการการรักษาโดยการผ่าตัดคือลดความดัน แก้การกระตุ้น เพิ่มสภาพคงที่ การยับยั้งเสียหายที่อยู่ แต่ภาวะแทรกซ้อนการผ่าตัดมากขึ้นและอันตรายสูง เจ็บปวดรุนแรง การผ่าตัดทั้งร่างกายหรือเฉพาะส่วนไม่เหมาะสำหรับผู้ป่วยเช่นมีอายุมาก ร่างกายไม่แข็งแรง มีอารเปลี่ยนแปลงสภาวะหัวใจ สมองและหลอดเลือดหรือโรคหลอดเลือดโรคเบาหวานหรือข้อห้ามใช้ยาสลบสำหรับผู้ป่วยก็ม่เหมาะสำหรับผ่าตัด

ลักษณะพิเศษของวิธีการรักษา

โรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กวางโจว มีการรักษาโรคกระดูกขนาดเล็กสามประเภท ซึ่งมีประสิทธิภาพในการรรักษาโรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท มีดังต่อไปนี้ 1.เป็นการผ่าตัดขนาดเล็กที่ไม่มีบาดแผล ผลดีคือ ไม่มีบาดแผล ไม่มีเลือด พักฟื้นในโรงพยาบาลระยะเวลาสั้น ฟื้นตัวไว ไม่เป็นแผลเป็นและไม่ทำลายความมั่นคงของกระดูกสันหลัง2.การผ่าตัดขนาดเล็กที่มีแผลหลังผ่าตัดขนาดเล็ก 3.การผ่าตัดขนาดเล็กที่มีแผลหลังผ่าตัดขนาดเล็กซึ่งมีขนาดแผลเพียง1-3เซนติเมตร เหมาะสมกับโรคหลายชนิด เลือดออกน้อย พักฟื้นในโรงพยาบาลระยะเวลาสั้น ฟื้นตัวไว

นอกจากเทคโนโลยีการรักษาโดยการผ่าตัดที่มีบุกรุกน้อย โรงพยาบาลโรคมะเร็งสมัยใหม่กวางโจวยังมีนักโภชนาการ จัดเสนออาหารที่สุขภาพต่อร่างกายสำหรับแก่ผู้ป่วยโรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท การผสมกับการรักษาโดยอาหารแพทย์แผนจีนโบราณ ทำให้การเพิ่มภูมิค้มกันในร่างกาย และได้เพิ่มประสิทธิภาพทางการรักษา

นอกจากนี้ โรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กวางโจวมีสำนักงานอยู่หลายประเทศในทั่วโลกผู้ป่วยต่างชาติที่มาจากหลายประเทศ ได้รักษาแข็งแรงเป็นปรกติมีมาจากประเทศเวียดนาม ประเทศพิลิปปินส์ ประเทศกัมพูชา ประเืทศอินโดนีเซีย และประเทศไทยเป็นต้น

โรงพยาบาลโรคมะเร็งสมัยใหม่กวางโจวในภาวะที่ไม่เพิ่มภาภาระต่อผ้ป่วยทั้งให้บริการสุขภาพที่อบอุ่นอย่างสมบูรณ์แบบและได้เพิ่มประสิทธิภาพและระดับของทางการรักษา การประชาสัมพันธ์ของแพทย์กับผู้ป่วยมีหลายวิธี รวมทั้งการปรึกษาออนไลน์ ทางอีเมล ทางโทรศัพท์และการปรึกษาโดยตัวต่อตัวบริการสำหรับผู้ป่วยสามารถที่ปรึกษาได้ตลอดเวลา เอาชนะโรคมะเร็งได้อย่างมีสำเร็จ มีทีมงานสำหรับไว้บริการ เช่นแพทย์ นางพยาบาล นักโภชนการและล่ามเป็นต้น สร้างความความพอใจและตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยต่างชาติ เมื่อผู้ป่วยได้รับการบริการและเข้าใจองค์ประกอบโดยรวมของโรงพยาบาล ย่อมทำให้ผู้ป่วยมีความไว้ใจและพร้อมที่จะร่วมมือในการรักษา

มะเร็งปากมดลูก
มะเร็งเต้านม
มะเร็งปอด
มะเร็งตับ
มะเร็งต่อมลูกหมาก
มะเร็งกระเพาะอาหาร
มะเร็งกระดูก
มะเร็งผิวหนัง
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งลำไส้ใหญ่
มะเร็งตับอ่อน
มะเร็งหลอดอาหาร
มะเร็งสมอง
มะเร็งช่องปาก
มะเร็งท่อน้ำดี
มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก
มะเร็งคอ
มะเร็งถุงน้ำดี
มะเร็งช่องคลอด
มะเร็งองคชาติ
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
มะเร็งโพรงจมูก
มะเร็งลำไส้เล็ก
มะเร็งไต
มะเร็งทวารหนัก
มะเร็งอัณฑะ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด Multiple myeloma
มะเร็งต่อมหมวกไต
มะเร็งกระดูกสันหลัง
มะเร็งลำไส้
มะเร็งตา
โรคมะเร็งเนื้อเยื่ออ่อน
มะเร็งลิ้น
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งรังไข่
มะเร็งต่อมไทรอยด์
อาการโรคมะเร็ง การวินิจฉัยโรคมะเร็ง การรักษาโรคมะเร็ง
ผู้สื่อข่าวสำนักพิมพ์ไทยรัฐประเทศไทย เดินทางไปสัมภาษณ์โรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจวถึงเมืองกวางเจา และเห
โครงการ 2,000,000 บาท ช่วยเหลือผู้ป่วยโรคมะเร็งของมูลนิธิบ่ออ้าย (ประเทศไทย)
งานมอบรางวัล “ผู้กล้าสู้มะเร็งประจำเดือนมีนาคม”
ผู้บริหารของโรงพยาบาลเราได้พบคุณห่าวซีซานสมาชิกสถาบันด้านวิศวกรรมแห่งประเทศจีน เพื่อเสาะหาความร่วมมือและการพัฒนา
กลุ่ม MDT ช่วยให้ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมมีสุขภาพที่แข็งแรงและกลับมามีความมั่นใจอีกครั้ง
นำโรงพยาบาลเข้าสู่มาตรฐาน JCI ยกระดับให้โรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจว
สุขไปกับชีวิตสายการแพทย์ เติมเต็มคุณค่าของชีวิต
การฝังแร่ไอโอดีน เสียงสวรรค์ของผู้ป่วยมะเร็ง --การประชุมใหญ่ด้านเทคโนโลยีการรักษามะเร็งด้วยการฝังแร่ไอโอดีนครั้งที่ 13 ณ ประเทศจีน